กลูโฟซิเนต แอมโมเนียม เผาไหม้ หรือ ดูดซึม?

กลูโฟซิเนต แอมโมเนีย เป็นอีกหนึ่ง ยาฆ่าหญ้ายอดนิยมในไทย โดนที่สามารถจะนำมาใช้ทดแทนสารเคมีกำจัดวัชพืชอื่นๆได้หลายประเภท โดยกลูโฟซิเนตสามารถออกฤทธิ์ได้ทั้ง เผาไหม้ และ ดูดซึม โดยกลูโฟซิเนตจะมีสถานะเผ่าไหม้ 70% ดูดซึม 30% และ ดูดซึมเร็ว แต่สลายตัวง่ายไม่ดูดซึมเข้าในดิน กลูโฟซิเนต แอมโมเนียม มีความเป็นพิษต่ำไม่มีผลกระทบต่อดินระบบรากและพืชผลปลอดภัยสำหรับพืชผล กลูโฟซิเนต แอมโมเนียมเป็นสารกำจัดวัชพืชแบบไม่เลือกทำลายไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยงมีความปลอดภัยต่อพืชประธาน ออกฤทธิ์ได้ไว หญ้าจะตายภายใน 2 วัน หลังจากใช้จะมีกระบวนการออกฤทธิ์แบบดูดซึมโดยดูดซึมเข้าทางใบและส่วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แสงจะการเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆของวัชพืช รวมทั้งรากเหง้าใต้ดินกำจัดหญ้าได้ทุกชนิด หลังจากฉีดพ่นไปแล้วสารจะถูกดูดซึมไปทุกส่วนของวัชพืช แล้วจะค่อยๆเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและแห้งตายไปถึงส่วนรากของวัชพืชส่วนโคนจะฟื้นกลับคืนสภาพ เนื่องจากกลูโฟซิ แอมโมเนี มีฤทธิ์กำกึ่งระหว่างดูดซึมกับเผาไหม้ ในการเผาไหม้พอมีฤทธิ์กำกึ่งนำมาใช้ก็ลำบาก หญ้าตายช้าและหากใช้ในปริมาณที่ไม่มากพอหญ้าก็อาจจะไม่ตาย กลูโฟซิเนต-แอมโมเนียมเป็นสารเคมีที่เป็นกรดกรดฟอสฟอริกปัจจุบันกรดฟอสฟอริกถูกนำมาใช้เป็นผลิตสารพวกฟอสเฟต เช่น ผงซักฟอก สบู่ ปุ๋ย รวมถึงใช้ผสมเป็นวัสดุอุดฟัน จนถึงถูกใช้เป็นส่วนผสมของน้ำอัดลม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แนะนำให้ใช้กลูโฟซิเนตแอมโมเนียมแทนพาควอต เนื่องจากพาควอตเป็นสารที่เป็นผลการะทบต่อด้านอุตสาหกรรมละที่สำคัญมีผลกระทบกับเกษตรกรที่เป็นต้นน้ำของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ซึ่งกลูโฟซิเนตแอมโมเนียม นิยมในใช้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและอ้อย หลังจากพบว่ามีงานวิจัยของต่างประเทศว่ากูลโฟซิเนตแอมโมเนียมเป็นสารที่ไม่มีสารตกค้างต่างออกจากสารประเภทอื่นที่อยู่ในกลุ่มเผาไหม้และดูดซึม ในอดีตสารกำจัดวัชพืชกลูโฟซิเนต-แอมโมเนียม ได้แบนไปแล้วในสหภาพยุโรป ปี 2561 เพราะพบว่า เป็นพิษต่อระบบประสาท ทำให้ระบบสืบพันธุ์และการเจริญของทารกผิดปกติ และอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ชื่อสามัญ […]

กลูโฟซิเนต แอมโมเนียม เผาไหม้ หรือ ดูดซึม? Read More »